การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลผู้รับการฝึกอบรม ประกอบด้วย
การวัดและประเมินผลระหว่างการฝึกอบรม และการเลื่อนระดับชั้น
การประเมินระหว่างการฝึกอบรม
มีการประเมินแพทย์ประจำบ้านระหว่างการฝึกอบรม ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และกิจกรรมทางการแพทย์ ในมิติต่างๆ ดังนี้
มิติที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ EPA และ DOPS ตามที่ อฝส. กำหนด โดยอาจารย์ (ภาคผนวกที่ ๓)
มิติที่ ๒ การรายงานผลการสอบจัดโดยสถาบัน (ผ่าน/ไม่ผ่าน)
มิติที่ ๓ การรายงานประสบการณ์การทำหัตถการต่างๆ: E-logbook
มิติที่ ๔ การประเมินสมรรถนะตามหลักวิชาชีพนิยม (professionalism) และ ทักษะระหว่างบุคคลและการสื่อสาร รวมทั้งการนำเสนอทางวิชาการโดยอาจารย์และผู้ร่วมงาน
มิติที่ ๕ การประเมินการบันทึกเวชระเบียน และการทำกิจกรรมทางวิชาการ
มิติที่ ๖ การรายงานความก้าวหน้างานวิจัย
เกณฑ์การเลื่อนระดับชั้น
- ปฏิบัติงานได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลาที่กำหนด
- ผ่านการประเมินตามมิติต่างๆ ในหลักสูตรตามเกณฑ์แต่ละสถาบันกำหนด อย่างน้อยมิติที่ ๑ ถึง ๕
การสอบภาคทฤษฎี
วัตถุประสงค์ : เพื่อทดสอบความรู้ภาคทฤษฎีด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (Medical knowledge) ของแพทย์ประจำบ้าน
วิธีการ : ทดสอบโดยใช้ข้อสอบปรนัย๕ตัวเลือก (Multiple choices question : MCQ) หรือ short answer โดยมีเนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตร
วิธีการปฏิบัติ : แพทย์ประจำบ้านต้องทำข้อสอบปรนัย ๕ ตัวเลือก หรือ short answer ข้อซึ่งจัดโดยคณะกรรมฝึกอบรม
เกณฑ์การประเมิน :
ระดับชั้นที่ ๑ ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๖๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่ ๒ ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๘๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่ ๓ ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ MPL
การสอบแก้ตัว : ดำเนินการสอบใหม่โดยใช้ข้อสอบชุดใหม่อีก ๑ ครั้งซึ่งมีจำนวนข้อสอบอย่างน้อย๘๐ข้อ
ภายใน ๑ เดือนหลังทราบผลคะแนน
การสอบภาคปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ : เพื่อทดสอบความรู้ภาคปฏิบัติด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินของแพทย์ประจำบ้าน
วิธีการ : ทดสอบโดยใช้ข้อสอบ Objective structured clinical examination (OSCE) หรือ oral examination
วิธีการปฏิบัติ : แพทย์ประจำบ้านต้องทำข้อสอบ OSCE หรือ oral examination ตามจำนวนข้อที่คณะกรรมการฝึกอบรมกำหนด
เกณฑ์การประเมิน :
ระดับชั้นที่๑ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๖๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่๒ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๘๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่๓ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ MPL
การสอบแก้ตัว : ดำเนินการสอบใหม่โดยใช้ข้อสอบชุดใหม่อีก๑ครั้งภายใน๑เดือนหลังทราบผลคะแนน
การวัดและประเมินผลเพื่อวุฒิบัตร
คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ
- ผ่านการฝึกอบรมครบตามหลักสูตร มีระยะเวลาขั้นต่ำตามที่หลักสูตรกำหนด
- ผ่านการประเมินเลื่อนชั้นที่ 2 ขึ้นชั้นที่ 3
- ผ่านการประเมินผลการกู้ชีพขั้นสูง ซึ่งจัดสอบโดยวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- ผ่านการประเมินผลงานวิจัย โดยคณะกรรมการตรวจประเมินงานวิจัย ของวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- สถาบันฝึกอบรมเห็นสมควรให้เข้าสอบ โดยต้องผ่านการประเมินตามมิติต่างๆ ตามข้อ ๖.๘.๑
- ผ่านการประเมินผลการกู้ชีพขั้นสูง ซึ่งจัดสอบโดยวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- ผ่านการประเมินผลงานวิจัย โดยคณะกรรมการตรวจประเมินงานวิจัย ของวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- สถาบันฝึกอบรมเห็นสมควรให้เข้าสอบ โดยต้องผ่านการประเมินตามมิติต่างๆ ตามข้อ ๖.๘.๑
การวัดและประเมินผลระหว่างการฝึกอบรม และการเลื่อนระดับชั้น
การประเมินระหว่างการฝึกอบรม
มีการประเมินแพทย์ประจำบ้านระหว่างการฝึกอบรม ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และกิจกรรมทางการแพทย์ ในมิติต่างๆ ดังนี้
มิติที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ EPA และ DOPS ตามที่ อฝส. กำหนด โดยอาจารย์ (ภาคผนวกที่ ๓)
มิติที่ ๒ การรายงานผลการสอบจัดโดยสถาบัน (ผ่าน/ไม่ผ่าน)
มิติที่ ๓ การรายงานประสบการณ์การทำหัตถการต่างๆ: E-logbook
มิติที่ ๔ การประเมินสมรรถนะตามหลักวิชาชีพนิยม (professionalism) และ ทักษะระหว่างบุคคลและการสื่อสาร รวมทั้งการนำเสนอทางวิชาการโดยอาจารย์และผู้ร่วมงาน
มิติที่ ๕ การประเมินการบันทึกเวชระเบียน และการทำกิจกรรมทางวิชาการ
มิติที่ ๖ การรายงานความก้าวหน้างานวิจัย
เกณฑ์การเลื่อนระดับชั้น
- ปฏิบัติงานได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลาที่กำหนด
- ผ่านการประเมินตามมิติต่างๆ ในหลักสูตรตามเกณฑ์แต่ละสถาบันกำหนด อย่างน้อยมิติที่ ๑ ถึง ๕
การสอบภาคทฤษฎี
วัตถุประสงค์ : เพื่อทดสอบความรู้ภาคทฤษฎีด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน (Medical knowledge) ของแพทย์ประจำบ้าน
วิธีการ : ทดสอบโดยใช้ข้อสอบปรนัย๕ตัวเลือก (Multiple choices question : MCQ) หรือ short answer โดยมีเนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตร
วิธีการปฏิบัติ : แพทย์ประจำบ้านต้องทำข้อสอบปรนัย ๕ ตัวเลือก หรือ short answer ข้อซึ่งจัดโดยคณะกรรมฝึกอบรม
เกณฑ์การประเมิน :
ระดับชั้นที่ ๑ ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๖๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่ ๒ ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๘๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่ ๓ ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ MPL
การสอบแก้ตัว : ดำเนินการสอบใหม่โดยใช้ข้อสอบชุดใหม่อีก ๑ ครั้งซึ่งมีจำนวนข้อสอบอย่างน้อย๘๐ข้อ
ภายใน ๑ เดือนหลังทราบผลคะแนน
การสอบภาคปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ : เพื่อทดสอบความรู้ภาคปฏิบัติด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินของแพทย์ประจำบ้าน
วิธีการ : ทดสอบโดยใช้ข้อสอบ Objective structured clinical examination (OSCE) หรือ oral examination
วิธีการปฏิบัติ : แพทย์ประจำบ้านต้องทำข้อสอบ OSCE หรือ oral examination ตามจำนวนข้อที่คณะกรรมการฝึกอบรมกำหนด
เกณฑ์การประเมิน :
ระดับชั้นที่๑ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๖๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่๒ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ ๘๐% ของ MPL
ระดับชั้นที่๓ต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ MPL
การสอบแก้ตัว : ดำเนินการสอบใหม่โดยใช้ข้อสอบชุดใหม่อีก๑ครั้งภายใน๑เดือนหลังทราบผลคะแนน
การวัดและประเมินผลเพื่อวุฒิบัตร
คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ
- ผ่านการฝึกอบรมครบตามหลักสูตร มีระยะเวลาขั้นต่ำตามที่หลักสูตรกำหนด
- ผ่านการประเมินเลื่อนชั้นที่ 2 ขึ้นชั้นที่ 3
- ผ่านการประเมินผลการกู้ชีพขั้นสูง ซึ่งจัดสอบโดยวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- ผ่านการประเมินผลงานวิจัย โดยคณะกรรมการตรวจประเมินงานวิจัย ของวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- สถาบันฝึกอบรมเห็นสมควรให้เข้าสอบ โดยต้องผ่านการประเมินตามมิติต่างๆ ตามข้อ ๖.๘.๑
- ผ่านการประเมินผลการกู้ชีพขั้นสูง ซึ่งจัดสอบโดยวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- ผ่านการประเมินผลงานวิจัย โดยคณะกรรมการตรวจประเมินงานวิจัย ของวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- สถาบันฝึกอบรมเห็นสมควรให้เข้าสอบ โดยต้องผ่านการประเมินตามมิติต่างๆ ตามข้อ ๖.๘.๑